บทที่
4 การสื่อสารข้อมูลบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์
1.
สื่อกลางประเภทมีสาย
มีข้อดีข้อเสียอย่างไรบ้าง
จงเปรียบเทียบ
1. สายคู่บิดเกลียวแบบไม่มีชีลด์
(Unshielded
Twisted –Pair Cable :UTP
นิยมใช้งานมากในปัจจุบันมีลักษณะคล้ายกับสายโทรศัพท์บ้านไม่มีการหุ้มฉนวนมีแต่การบิดเกลียวอย่างเดียว
ข้อดี
1. เสียค่าใช้จ่ายในการติดตั้งน้อย
2. ใช้อย่างกว้างขวางในระบบโทรศัพท์
ข้อเสีย
1. มีสัญญาณรบกวน
2. อัตราเร็วในการส่งข้อมูลจะน้อยกว่าสายสัญญาณแบบอื่น
และมีข้อจำกัดเรื่องความยาวของสายสัญญาณ
2. สายคู่บิดเกลียวแบบมีชิลด์
(Shielded
Twisted –Pair Cable
:STP)
สำหรับสายSTP คล้ายกับสาย UTP แต่สาย STP จะมีชิลด์ห่อหุ้มอีกชั้นหนึ่ง
ทำให้ป้องกันสัญญาณรบกวนได้ดีกว่าสาย UTP
ข้อดี
• ราคาถูก
• มีน้ำหนักเบา
• ง่ายต่อการใช้งาน
ข้อเสีย
• มีความเร็วจำกัด
• ใช้กับระยะทางสั้นๆ
3. สายโคแอกเชียล
(Coaxial
Cable)
มักทำด้วยทองแดงอยู่แกนกลาง ซึ่งสายทองแดงจะถูกห่อหุ้มด้วยพลาสติก จากนั้นก็จะมีชิลด์ห่อหุ้มอีกชั้นหนึ่งเพื่อป้องกันสัญญาณรบกวน และหุ้มด้วยเปลือกนอกอีกชั้นหนึ่งป้องกันสัญญาณรบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้ดี สายโคแอกเชียลที่เห็นได้ทั่วๆไป คือ สายที่นำมาใช้ต่อเข้ากับเสาอากาศทีวีที่ใช้ตามบ้าน
มักทำด้วยทองแดงอยู่แกนกลาง ซึ่งสายทองแดงจะถูกห่อหุ้มด้วยพลาสติก จากนั้นก็จะมีชิลด์ห่อหุ้มอีกชั้นหนึ่งเพื่อป้องกันสัญญาณรบกวน และหุ้มด้วยเปลือกนอกอีกชั้นหนึ่งป้องกันสัญญาณรบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้ดี สายโคแอกเชียลที่เห็นได้ทั่วๆไป คือ สายที่นำมาใช้ต่อเข้ากับเสาอากาศทีวีที่ใช้ตามบ้าน
ข้อดี
- เชื่อมต่อได้ในระยะไกล
- ป้องกันสัญญาณรบกวนได้ดีข้อเสีย
- มีราคาแพง
- สายมีขนาดใหญ่
- ติดตั้งยาก
4. สายไฟเบอร์ออปติค(Optical
Fiber)
สายไฟเบอร์ออปติคหรือสายใยแก้วนำแสง เป็นสายที่มีลักษณะโปร่งแสง มีรูปทรงกระบอกในตัวขนาดประมาณเส้นผมของมนุษย์แต่มีขนาดเล็กสายไฟเบอร์ออปติค แบ่งเป็น 3 ชนิด
สายไฟเบอร์ออปติคหรือสายใยแก้วนำแสง เป็นสายที่มีลักษณะโปร่งแสง มีรูปทรงกระบอกในตัวขนาดประมาณเส้นผมของมนุษย์แต่มีขนาดเล็กสายไฟเบอร์ออปติค แบ่งเป็น 3 ชนิด
4.1 Multimode
step –index fiber จะสะท้อนแบบหักมุม
4.2 Multimode
graded –index มีลักษณะคล้ายคลื่น
4.3 Single
mode fiber เป็นแนวตรง
ข้อดี- มีขนาดเล็กน้ำหนักเบา
- มีความปลอดภัยในการส่งข้อมูล
- มีความทนทานและมีอายุการใช้งานยาวนาน
- เส้นใยแก้วมีความเปราะบาง แตกหักง่าย
- มีราคาสูง เมื่อเทียบกับสายเคเบิลทั่วไป
- การติดตั้งจำเป็นต้องพึ่งพาผู้เชี่ยวชาญเฉพาะ2. หากนำระบบเครือข่ายมาใช้ในองค์กรนักศึกษาจะเลือกรูปแบบของระบบเครือข่าย ( lan topology)แบบใดเพราะอะไรการแชร์หรือการใช้ทรัพยากรร่วมกัน1. แชร์ฮาร์ดแวร์ อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่ผู้ใช้สามารถใช้ร่วมกัน แบ่งออกเป็น 3 ประเภทหลักๆ คือ
- หน่วยความจำ (Mass Storage Server) ได้แก่ ฮาร์ดิสก์ เทปไดรฟ์ และออปติกคัลดิสก์
- อุปกรณ์เอาท์พุท (Output Server) ได้แก่ เครื่องพิมพ์แบบดอตเมตริกซ์ แบบอิงค์เจ็ต หรือแบบเลเซอร์ เครื่องฉายวิดีโอโปรเจคเตอร์ และจอวิดีโอขนาดใหญ่ เป็นต้น
- อุปกรณ์การสื่อสาร (Communication Server) ได้แก่ โมเด็ม บริดจ์ เราเตอร์ เกตเวย์ และเครื่องแฟกซ์ เป็นต้น
2. แชร์ซอฟต์แวร์ ผู้ใช้สามารถเรียกใช้ซอร์ฟแวร์ซึ่งเครื่อง PC ของตนไม่มีซอร์ฟแวร์นี้ติดตั้งอยู่ เช่น เครื่องที่ใช้อยู่ไม่สามารถใช้โปรแกรมบางโปรแกรมได้ สามารถที่จะเรียกใช้โปรแกรมจากเครื่องที่สามารถใช้ได้มาทำงานในเครื่อง PC ของตน รวมทั้งยังสามารถสั่งพิมพ์ที่เครื่องพิมพ์ที่เชื่อมต่อในเครือข่ายได้3. แชร์ไฟล์ข้อมูล ไฟล์ข้อมูลเพียงไฟล์เดียวที่อยู่ในไฟล์เซิร์พเวอร์ สามารถให้บริการเรียกใช้จากผู้ใช้ได้ทีละหลายคน เป็นการประหยัดเนื้อที่หน่วยความจำในการเก็บรักษาไฟล์ข้อมูล นอกจากนี้ผู้ใช้ยังสามารถติดต่อขอใช้หรือเรียกดูไฟล์ข้อมูลจากเครือข่ายภายนอก ผ่านทางเราเตอร์หรือเกตเวย์ได้อีกด้วยประหยัดค่าใช้จ่าย1. ประหยัดฮาร์ดแวร์ เช่น สามารถใช้เครื่องพิมพ์ประสิทธิภาพสูง (ราคาแพง) เพียงเครื่องเดียวรองรับงานพิมพ์ที่ต้องการคุณภาพและความรวดเร็วได้ทั้งสำนักงาน2. ประหยัดค่าซอร์ฟแวร์ เพราะมีซอร์ฟแวร์อยู่เพียงก็อบปี้เดียวก็สามารถเรียกใช้ได้ทั่วกัน3. สามารถรวมเป็นเครือข่ายเดียวกัน ทำให้ลดค่าใช้จ่ายในส่วนของงานที่ซ้ำซ้อนได้4. ประหยัดค่าติดตั้งและค่าดูแลรักษา เพราะระบบใหม่สามารถติดตั้งได้ง่ายและสามารถนำเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่มีอยู่เดิมมาใช้งานได้อีกสะดวกกับผู้ใช้งาน1. ผู้ใช้สามารถเข้าสู่เครือข่ายได้ง่าย2. ตัดปัญหาเรื่องไฟล์ข้อมูลหายหรือต้องเตรียมไฟล์ข้อมูลสำรอง เพราะไฟล์เซิร์ฟเวอร์จะทำหน้าที่สำรองข้อมูลแทนให้3. สะดวกกับผู้ใช้งานจากจุดหนึ่งที่จะเข้าไปใช้ไฟล์ข้อมูลของผู้ใช้งานในอีกจุดหนึ่งซึ่งใช้เก็บสำรองไฟล์ข้อมูลนั้นไว้ในไฟล์เซิร์ฟเวอร์4. สามารถส่งข้อความตอบโต้กันระหว่างผู้ใช้ได้ง่ายด้วยไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์5. ผู้ใช้สามารถเลือกใช้ฮาร์ดแวร์คุณภาพดีๆได้6. ผู้ใช้สามารถติดต่อสื่อสารข้อมูล ข้อความ และซอร์ฟแวร์กับระบบอื่นภายนอกเครือข่ายได้ง่าย7. สามารถส่งข้อมูลได้ด้วยอัตราเร็วสูง สะดวก รวดเร็วยิ่งขึ้น (ขึ้นอยู่กับชนิดของสายสื่อสารและรูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่ายด้วย)ง่ายต่อการควบคุม1. สิทธิหรือขอบเขตในการเข้าไปใช้งานในเครือข่ายสามารถกำหนดและควบคุมได้จากผู้ที่มีหน้าที่ควบคุมเครือข่ายเพียงคนเดียว2. ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์หลายเครื่องต่างแบบสามารถทำงานร่วมกันได้3. ระบบมีความเชื่อถือได้สูง4. สามารถทำการขยายระบบเพิ่มจุดผู้ใช้ในเครือข่ายได้ง่าย5. เหมาะสมกับระบบสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation หรือ OA)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น